๏ งาน
วิจัย
ทาง
ชีววิทยา
และ
ทางการ
แพทย์
ช่วย
ทำให้
สุขภาพ
มนุษย์
ดี
ขึ้น ซึ่ง
เมื่อ
สุขภาพ
แข็งแรง
อาจ
จะ
ไม่
ต้อง
ไป
หา
หมอ
ก็
ได้ ถ้า
มา
ดู
ความ
รู้
ที่
เกิด
จาก
งาน
วิจัย
นั้น ต้อง
มี
กระบวนการ
ที่
จะ
แปล
เป็น
วิธี
ป้องกัน
โรค
หรือ
รักษา
โรค
ได้ ที่
นี้
จะ
มา
ดู
กระบวนการ
นั้น
โดย
ใช้
กรณี
ของ
หมู่
เลือด RhD
๏ โลหิต
ของ
มนุษย์
มี
หลาย
ชนิด
หลาย
กลุ่ม บาง
กลุ่ม
เข้า
กัน
ไม่
ได้ เช่น คน
ที่
มี
หมู่
เลือด
ใน
กลุ่ม A สามารถ
บริจาค
เลือก
ให้
ผู้
ที่
มี
เลือด
ใน
กลุ่ม A หรือ AB เท่านั้น ถ้า
คน
ที่
มี
เลือด
ใน
กลุ่ม A รับ
เลือด
ที่
ไม่
ถูกต้อง
จะ
เกิด
การ
ตอบ
สนอง
ด้าน
ภูมิคุ้มกัน
ใน
ร่างกาย จะ
ทำให้
เม็ดเลือด
แดง
ที่
เข้า
มา
ใหม่
แตก นอกจาก
นี้
ยัง
มี
เลือด
หลาย
ระบบ ระบบ A-B-O เป็น
เพียง
ระบบ
หนึ่ง ยัง
มี
ระบบ RhD, Kell, Duffy, MN ฯลฯ ซึ่ง
จะ
นำ
ระบบ RhD มา
วิเคราะห์
ต่อ
ไป
๏ คน
ปกติ
ถือ
ยีน RhD บน
โครโมโซม ๑ ขณะ
เพิ่ง
พบ
เห็น
ที่
มี
ลักษณะ
คล้าย
กับ
ยีน
ที่
พบ
ใน
ลิง Rhesus ซึ่ง
ตั้ง
ชื่อRh ยีน
นั้น
มี
ระ
หัส
สำหรับ
สร้าง
โปรตีน D เป็น
โปรตีน
ใน
ครอบครัว
โปรตีน
ขนส่ง
สาร
แอมโมเนีย โปร
ติ
น D พบ
บน
เม็ดเลือด
แดง คน
ที่
มี
ยีน
สมบูรณ์
จะ
เรียก RhD บวก
ทาง
พันธุกรรม ส่วน
คน
ที่
ไม่
มี
ยีน D หรือ
ผิด
ปกติ
จะ
เรียก RhD ลบ ต้อง
สังเกต
ที่
ขณะ
มี
ยีน D สมบูรณ์
จะ
สามารถ
สร้าง
โปรตีน D ได้ ไม่
จำเป็น
ที่
ยีน D ต้อง
สมบูรณ์
ใน
โครโมโซม
หนึ่ง
ทั้ง
คู่ ถ้า
สมบูรณ์
ใน
โครโมโซม
ตัว
เดียว
สังเคราะห์
โปรตีน D ได้ คน
ที่
สร้าง
โปรตีน
ดี
ไม่
ได้
เป็น
คน
ที่
มี
ยีน D ผิด
ปกติ
ใน
ใน
โครโมโซม
ทั้ง
คู่ ดังนั้น
ทาง
พันธุศาสตร์
จะ
เรียก
ว่า
ยีน
ด้อย
๏ ยีน D สำคัญ
เพราะ
ว่า คน
ที่
เป็น RhD ลบ ซึ่ง
ไม่
มี
โปรตีน D บน
ผิว
เม็ดเลือด
แดง คน
นั้น
จะ
ไม่
สามารถ
รับ
เลือด
จาก
คน
ที่
เป็น RhD บวก ขณะ
เลือด
นั้น
เข้า
ใน
กระแส
เลือด
จะ
ทำให้
ระบบ
ภูมิคุ้มกัน
รับรู้
โปร
ติ
น D และ
จะ
ถือ
โปรตีน
นั้น
ไม่
ใช่
ของ
ร่างกาย เป็น
โปร
ตรี
น
มา
จาก
นอก และ
จะ
กระ
ต้น
กระบวนการ
สร้าง
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ต่อ
โปรตีน D กรณี
นี้
ต่าง
กับ
กรณี
ของ
ระบบ A-B-O ซึ่ง
ใน
กรณี
นั้ม
เป็น
โครง
ส
ราง
ของ
น้ำตาล
ที่
ติด
กับ
โปรตีน
บน
ผิว
เม็ดเลือด
แดง
ที่
จับ
กับ
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ที่
มี
อยู่
ใน
เลือด
แล้ว อย่างไร
ก็
ตาม
คน RhD ลบ
ที่
ได้
สัมผัส
กับ
เลือด Rh บวก
จะ
เริ่ม
สร้าง
สาร
ภูมิ
ต้านทาน จะ
เรียก
ว่า
ภูมิ
ไว
เกิน เพราะ
ค
รัง
ต่อ
ไป
ที่
สัมผัส
กับ
เลือด RhD บวก
จะ
มี
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ใน
กระแส
เลือด
พร้อม
ที่
จะ
จับ
กับ
เม็ดเลือด
แดง
และ
ให้
แตก
๏ ถ้า
คน
ที่
มี
เลือด
ชิด RhD ลบ
ไม่
ได้
รับ
เลือ
เลย ก็
คง
จะ
ไม่
มี
ปัญหา แต่
อาจ
จะ
มี
กรณี
ที่
เขา
ตั้ง
ครรภ์ ลูก
อาจ
จะ
มี
เลือด
ชนิด RhD บวก ซึ่ง
ได้
รับ
ยีน D จาก
บิดา ถ้า
เลือด
ของ
ทารก
และ
มารดา
ได้
ผสม
กัน
สภาวะ
ภูมิ
ไว
เกิน
จะ
เกิด
ขึ้น และ
แม่
จะ
เริ่ม
สร้าง
สาร
ภูมิ
ต้านทาน นัก
วิจัย
กำหนด
ที่
ปริมาตร
เลือด
ทารก
ยัง
น้อย ๑๐-๓๐ ไมโครลิตร
จะ
สามารถ
กระตุ้น
ระบบ
ภูมิ
คุ้น
กัน
ของ
มารดา
ได้
๏ ดูเหมือน
กัน
ว่า
จะ
ไม่
มี
ปัญหา เพราะ
ระบบ
ไหล
เวียน
โลหิต
ของ
มารดา
และ
ทารก
แยก
กัน
และ
เลือด
ไม่
ได้
ผสม
กัน อัน
นี้
เป็น
ทฤษฎี
ที่
ได้
เรียน
ใน ม. ๖ แต่
ใน
ชีวิต
จริง
ถ้า
แม่
เจ
บ
และ
รก
ได้
แตก
นิดๆ ซึ่ง
อาจ
ไม่
รู้สึก
อะไร
ก็
ได้ เลือด
ของ
มารดา
และ
ทารก
จะ
ได้
ผสม
กัน หรือ
ขณะ
คล
อด
ลูก
อาจ
จะ
ผสม
กัน
ได้
อย่าง
ไร่
ก็
ตาม
เป็น
สิ่ง
ที่
ตรวจ
ได้ เพราะ
มี
วิธี
กำหนด
ปริมาตร
เลือด
ของ
ทารก
ที่
พบ
ใน
กระแส
เลือด
มารดา วิธี
ดัง
กล่าว
ใช้
หลักการ
ที่
ฮี
โม
โก
ล
บิน
ของ
ทารก
คือ ฮี
โม
โก
ล
บิน
ชนิด F มี
คุณสมบัติ
ที่
ต่อต้าน
สาร
กรด
มาก
กว่า
ฮี
โม
โก
ล
บิน
ธรรมดา
ของ
ผู้ใหญ่ ถ้า
นำ
เลือด
ของ
มารดา
ไป
ห้อง
ปฏิบัติการ
และ
ผสม
กับ
สาร
กรด เม็ดเลือด
แดง
ของ
แม่
จะ
แตก
และ
เหลือ
แต่
ผิว แต่
เม็ดเลือด
แดง
ของ
ทารก
ยัง
อยู่ ถ้า
นำ
ไป
ดู
ที่
กล้อง
จุลทรรศน์
จะ
สามารถ
นับ
จำ
หน่
วน
เม็ดเลือด
แดง
ของ
มารดา
และ
ทารก
ได้ และ
จะ
สามารถ
กำหนด
ปริมาตร
เลือด
ของ
ทารก
ที่
เข้า
ใน
กระแส
เลือด
ของ
มารดา
ทั้งหมด
ได้ วิธี
นี้
เรียก
ว่า
การ
ทดลอง
แห่ง
Kleihauer-Betke
๏ มารดา
ที่
เป็น RhD ลบ หลัง
จาก
สัมผัส
กับ
เม็ดเลือด
แดง
ที่
เป็น RhD บวก โดย
รับ
เลือก
ก็
ดี โดย
ตั้ง
ครรภ์
ก็
ดี จะ
เริ่ม
สร้าง สาร
ภูมิ
ต้านทาน ชนิด IgG ต่อ
ไป
ถ้า
มารดา
คน
นั้น
ตั้ง
ครรภ์
ครั้ง
ต่อ
ไป สาร
ภูมิ
ต้านทาน ที่
อยู่
ใน
กระแส
เลือด
อยู่
แล้ว ผ่าน
กร
ได้
และ
เข้า
ใน
กระแส
เลือด
ของ
ทารก และ
ให้
เม็ดเลือด
แดง
ของ
ทารก
แตก
๏ ส่วน
สภาวะ
ที่
เม็ดเลือด
แดง
ของ
ทารก
แต
ทำให้
เกิด
ปัญหา
หลาย
อย่าง อันดับ
หนึ่ง
ทารก
จะ
มี
เม็ดเลือด
แดง
ไม่
พอ
สำหรับ
นำ O2 ถึง
อวัยวะ
ต่างๆ และ
ส่ง CO2 ถึง
ปอด ถึง
ที่
ทารก
อาจ
จะ
เสีย
ชีวิต
ใน
ครรภ์ นอกจาก
นั้น
จะ
มี
ปัญหา
กับ
สารๆ ที่
เกิด
จาก
เม็ดเลือด
แดง สาร
ฮี
โม
โก
ล
บิน
จะ
ถูก
ย่อย
และ
จะ
ปล่อย
วง Haem ซึ่ง
จะ
ถูก
ตัด
เป
ลี่
น
เป็น
บิ
ลิ
รู
บิน
และ Fe ลุ
ด อันดับ
แรก
สาร
บิ
ลิ
รู
บิน
นั้น
จะ
ล้าง
ออก
โดย
กระแส
เลือด
ของ
มารดา
และ
จะ
ถูก
ย่อย
ใน
ตับ
ของ
มารดา แต่
หลัง
จาก
คลอด
แล้ว สาร
บิ
ลิ
รู
บิน
นั้น
จะ
มา
สะสม
ใน
ทารก ทำให้
ผิวหนัง
สี
เหลือง อาการ
นี้
เรียก
ว่า ดี
ซา ส่วน
ใหญ่
จะ
เริ่ม
ที่
บริเวณ
หน้า
และ
จะ
แพร่
ถึง
แขน
และ
ขา สาร
บิ
ลิ
รู
บิน
ที่
มาก
เกิน
ไป
เป็น
ปัญหา
เพราะ
ว่า จะ
สะสม
ใน
ระบบ
ประสาท โดย
เฉพาะ
ที่ basal ganglia และ
จะ
ให้
เกิด
ปัญหา
กับ
การ
เคลื่อนไหว อัน
นี้
เรียก
ว่า
kernicterous
๏ วิธี
แก้
ปัญหา
คือ ให้
มารดา
สาร
ภูมิ
ต้านทาน ที่
จะ
จับ
กับ
โปรตีน D ถ้า
มี
เม็ดเลือด
แดง
ของ
ทารก
เข้า
ใน
กระแส
เลือด
ของ
มารดา
จะ
ถูก
แตก
ใน
ทั้น
ที่
ก่อน
ที่
จะ
ให้
ปฏิกิริยา
ภูมิ
คุม
กัน
ไว
เกิน
เกิด
ขึ้น บาง
ที่
หมอ
ให้หลัง
จาก
คลอด
ลูก
คน
แรก
แล้ว หรือ
ให้
ก่อน
ที่
จะ
คลอด หรือ
ใน
ใน
กรณี
ที่
มี
เลือด
ของ
ทารก
เข้า
มา
แล้ว แล้ว
แต่
ผลลัพธ์
การ
ตรวจ
ของ
Kleihauer-Betke
๏ ดูเหมือน
กับ
ที่
ไม่
ยาก ถ้า
ดู
ผล
ของ
ตรวจ RhD จะ
ได้
รู้
ถ้า
มารดา
ควร
รับ สาร
ภูมิ
ต้านทาน
โปรตีน D หรือ
ไม่ แต่
ใน
ห้อง
ปฏิบัติการ
ได้
พบ
เลือด
ชนิด
ที่
ไม่
ได้
จับ
กลุ่ม
ขณะ
ผสม
กับ
ซี
รั่ม
ที่
มี anti-D เหมือน
กับ
ที่
จะ
เป็น
เลือด D ลบ แต่
ขณะ
ที่
ใส่ anti-IgG มนุษย์
เพื่อ
ช่วย
ปฏิกิริยา
จับ
กลุ่ม
ได้ เลือด
นี้
มี
โปรตีน D แต่
ปริมาณ
น้อย ความ
จริง
อัน
นี้
ถือ
เป็น
เลือด D บวก
ได้ เรียก
ว่า “
D อ่อน” ไม่
จำเป็น
ที่
ต้อง
รักษา
มารดา
กับ anti-D ส่วน
เลือด
อีก
ชนิด
หนึ่ง
ไม่
ได้
จับ
กลุ่ม
กับ anti-D เพราะ
ถ้า
มี
การ
กลาย
พันธุ์
ใน
โปรตีน D เลือด
ใน
กลุ่ม
นี้
อาจ
ให้
มารดา
สร้าง
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ตอ
โปรตีน D ได้ กลุ่ม
นี้
เรียก
ว่า “D เป็น
บาง
ส่วน” (
partial D) ดังนั้น
มี
ความ
จำเป็น
ที่
ต้อง
มา
วิเคราะห์
ยีน D อย่าง
ละเอียด
๏ สิ่ง
ที่
คน
คิด
ว่า
เป็น
ยีน D ความ
จริง
เป็น
ยีน
สอง
ตัว
คือ ยีน D กับ
ยีน CE เป็น
สอง
ยีน
ที่
เกือบ
เป็น
สำเนา
กัน ร้อยละ ๙๒ ของ
ลำดับ
นิว
คลี
โอ
ไทด์
มี
เหมือน
กัน สอง
ยีน
นี้
อยู่
ทิศทาง
ตรง
กัน
ข้าม
บน
โครโมโซม คน
ที่
เป็น RhD ลบ มี
ยีน
ทั้งหมด
ที่
ถูก
ตัก
ออก
จาก
โครโมโซม แต่
ยีน CE ยัง
อยู่ อัน
นี้
เป็น
กรณี
ที่
พบ
ใน
คน
ผิว
เขา
ประมาณ
ร้อยละ ๑๕ แต่
ใน
คน
เชื่อ
ชาติ
จีน
จะ
พบ
น้อย
มาก (ร้อยละ ๐.๐๓) ส่วน
ยีน CE นั้น
มี
มี
หลาย
รูปแบบ
ที่
ทำให้
เกิด
แอนติเจน C/c และE/e
๏ ต่อ
ไป
ต้อง
มา
ดู
ความ
สำคัญ
ของ
กรณี RhD เช่น มารดา
ที่
คล
อด
ลูก
ที่
ตาย
ใน
ครรภ์ อาจ
จะ
มี
สาเหตุ
อื่นๆ
ด้วย สมมุติ
ว่า
มี
มารดา
ที่
ภูมิ
ไว
เกิน
มี
กา
แทง ๑ ใน ๑ พัน
คน และ
แม่
ที่
เป็น RhD บวก
ก็
มี
กา
แทง ๑ ใน ๑ พัน
คน
เหมือน
กัน ไม่
น่า
จะ
เกี่ยวข้อง
กับ RhD และ
มี
สาเหตุ
อื่นๆ ด้วย ดังนั้น
มา
ดู
แต่
กลไก
ระดับ
โมเลกุล
และ
ระดับ
เยื่อ
ใน
ร่างกาย
ไม่
พอ ต้อง
มา
วิเคราะห์
กรณี
ของ RhD ใน
ประชากร
๏ ก
ลุ
่ม
หนัก
วิจัย
จาก
สวีเดน
มา
สำรวจ
ข้อมูล
สตรี
ที่
คล
อด
บุตร
หนึ่ง
ล้าน
ก
ล่า
คน พร้อม
กับ
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ต่อ RhD และ
ระบบ
เลือด
อื่นๆ การ
ติด
ตาม
ถึง
เวลาคล
อด
และ
ผล
การ
คล
อด จาก
กลุ่ม
ที่
มี
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
บาง
คน
คล
อด
บุตร
ปกติ ส่วน
ใน
กลุ่ม
มารดา
ที่
ไม่
มี
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
บาง
ราย
คล
อด
ลูก
ที่
มี
ปัญหา
ก็
มี ดังนั้น
หนัก
วิจัย
มา
วิเคราะห์
ถ้า
มี
ความ
สัมพันธ์
กัน
ระหว่าง
การ
มี
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
กับ
คล
อด
ปิด
ปกติ เขา
ศึกษา
สอง
อย่าง คือ ลูก
ที่
เกิด
ก่อน
กำหนด และ
ลูก
ที่
เสีย
ชีวิต
ใน
ครรภ์
โดย
ใช้
วิธี
ร
ทาง
สถิติ
คือ การถ่ายเลือด
โล
จิ
สติ
ก เขา
พบ
ว่า
มี
ความ
สัมพันธ์
ทาง
สถิติ
ระหว่าง การ
พบ
สาร
ภูมิ
ต้านทาน กับ
คล
อด
ลูก
ที่
เสีย
ชีวิต
ใน
ครรภ์ และ
กาค
ลอด
ลูก
ก่อน
กำหนด ดังนั้น
เขา
เสนอ
ที่
มารดา
ที่
พบ
สาร
ภูมิ
ต้านทาน
ต่อ RhD (หรือ
ระบบ
อื่ๆ
ที่
เขา
ศึกษา) ควร
รับ anti-D แต่
ใน
ขณะ
เดียวกัน
ควร
วิเคราะห์
ยีน
ของ
มารดา
และ
บิดา
ด้วย
๏ ใน
ปัจจุบัน
นี้
มี
วิธี
วิเคราะห์
ยีน
ของ
ทารก
ใน
ครรภ์
โดย
ไม่
ต้อง
นำ
เยื้อ
จาก
สายสะดือ หรือ
ไม่
ต้อง
เก็บ
น้ำคร่ำ เพราะ
มี
วิธี
ที่
สามารถ
ตรวจ
ดี
เอ็น
เอ
ของ
ทารก
ที่
ลอย
ใน
กระแส
เลือด
ของ
มารดา
ได้
๏ อย่างไร
ก็
ตาม แม้
ว่า
การ
ศึกษา
ของ
สวีเดน
ตรวจ
ล้าน
กว่า
คน
เป็น
การ
ศึกษา
เดียว
ใน
พื้นที่
เดียว
ของ
โลก ยัง
มี
คน
ที่
พบ
รูปแบบ
ใหม่
ของ
ยีน RhD ที่
เกี่ยวข้อง
กับ
โรค
เม็ดเลือด
แดง
แตก
พบ
อย่าง
ต่อ
เนื่อง มี
นัก
วิจัย
ที่
พบ
การ
กลาย
พันธุ์
ของ
ยีน และ
มี
โรงพยาบาล
ที่
เก็บ
ข้า
มูล
ประวัติ
ตั้ง
ครรภ์
พร้อม
กับ
ผล
การ
กค
อด
เหมือน
กัน อาจ
จะ
เขา
เขียน
บทความ
ที่
อธิบาย
สิ่ง
ที่
เขา
พบ ที่
หลัง
อา
จะ
มี
นัก
วิจัย
ที่
มา
สำรวจ
อ่าน
บทความ
ต่างๆ และ
อา
จะ
เขา
เขียน
บท
ปริทัศน์
ด้วย หรือ
เขียน
บท
ปริทัศน์
ซึ่ง
เป็น
ระบบ เช่น
Cochrane Review อัน
นี้
เป็น
กระบวร
การ
ดำเนิน
งาน
วิจัย
ปกติ ซึ่ง
เป็น
กระบวนการ
ที่
ใช้
เวลา
พอสมควร
ต้อง
มี
วิธี
ที่
เร็ว
กว่า
นี้
ที่
สามารถ
ติด
ตา
ง
การ
กลาย
พันธุ์
ที่
พบ
มา
อย่าง
ต่อ
เนื่อง
และ
เร็ว วิธี
นี้
คือ
ระบบ
การ
เฝ้า
ระวัง
ทาง
ระบาด
วิทยา เป็น
ระบบ
ที่
เก็บ
ข้อมูล
อย่าง
ต่อ
เนื่อง และ
มี
วิธี
เก็บ
ข้อมูล
เป็น
ระบบ เพื่อ
วิเคราะห์
และ
ติ
ความ
ข้อมูล
ด้าน
สุขภาพ ระบบ
สามารถ
เครื่อง
กรอง
และ
บูรณาการ
ข้อมูล
ที่
สำคัญ และ
แพร
ข้อมูล
โดย
เร็ว
ให้
ผู้
ที่
จะ
ใช้ คือ
บุ
คล
คน
สา
ธรา
ณา
สุข แพทย์ พยาบาล และ
นัก
วิจัย นิสิต
แพทย์ ฯลฯ (www.cdc.org)
๏ ใน
กรณี
ของ RhD มี
ฐาน
ข้อมูล
RhesusBase ที่
ทำ
หน้าที่
การ
เฝ้า
ระวัง
ทาง
ระบาด
วิทยา เป็น
ระบบ
การ
เฝ้า
ระวัง
เชิง
รับ คือ โรงพยาบาล
หรือ
สถานี
อนามัย
ส่ง
ข้อมูล
เอง และ
มี
การ
รายงาน
โดย
ความ
สมัครใจ คือ
ผู้
ที่
มี
ข้อมูล
และ
เห็น
สมควร จะ
ส่ง
เอ็ง
โดย
ไม่
มี
ใคร
ขอ
ส่ง
มา ส่วน
เกณฑ์
คัด
อาสา
สมัคร
เขา
ระบบ
มี
หลาย
ข้อ อาทิ เหตุ
การ
ต้อง
เป็น
ผู้
มี RhD บวก หรือ
ไม่
สามารถ
แยก
ออก
แอนติเจน D หรือ
ลำดับ
นิว
คลี
โอ
ไทด์
เฉพาะ
เจาะจง
ของ RhD ผู้
ใน
เหตุการณ์
มี
สาร
ภูมิ
ต้านทาน anti-D หรือ
ไม่
สามารถ
แยก
ออก anti-D ได้ เหตุการณ์
ต้อง
ระบุ
ข้อมูล
ของ
ผู้ป่วย โดย
มี
เกณฑ์
ที่
กำหนด
แล้ว เพื่อ
หลีก
เลี่ยง
ข้อมูล
ซ้ำ เช่น เขียน
ชื่อ
ต่าง
กัน
อาจ
จะ
ถือ
เป็น
สอง
ร่าย นอกจาก
นี้
ต้อง
ระบุ เมือง ประเทศ และ
ที่
อยู่
อย่าง
สมบูรณ์ พร้อม
กับ
ประวัติ
การ
รับ
เลือด ประวัติ
ตั้ง
ครรภ์
ด้วย ดังนั้น
ระบบ
เฝ้า
ระวัง
ทาง
ระบาด
วิทยา
สามารถ
เก็บ
ข้อมูล
อย่าง
เร็ว
๏ มี
ข้อมูล
จาก
ประเด็น
สุขภาพ
ที่
กำลัง
เกิด
อยู่
และ
ทันสมัย
ก็
ดี แต่
ยัง
ต้อง
มี
คน
มา
ดู
และ
คิด
วิธี
ที่
จะ
ใช้
ข้อมูล
ดัง
ก่
ลาว
เพื่อ
เป็น
ประโยชน์
ด้วน ต้อง
มา
กำหนด
จะ
ใช้
ข้อมูล
อย่างไร ใน
ขณะ
เดียวกัน
ใน
โรงพยาบาล
หลาย
แห่ง ซึ่ง
อาจ
จะ
อยู่
ใน
หลาย
เมือง หรือ
หลาย
ประเทศ
มี
วิธี
รักษา
และ
วิธี
จัดการ
กับ
ปัญหา
ที่
อาจ
ไม่
เหมือน
กัน สถานที่
ต่างๆ อาจ
ใช้
ข้อมูล
สมัย
ใหม่
หรือ
ไม่ ดังนั้น
ต้อง
มี
วิธี
ที่
นำ
ข้อมูล
มา
ร่วม
กัน ทั้ง
ข้อมูล
ทาง
วิจัย ข้อมูล
วิธี
รักษา
ต่างๆ มา
วิเคราะห์
เพื่อ
นำ
เอา
มา
ใช้ เช่น
ใน
กรณี
ข้อง RhD ต้อง
มี
วิธี
ระบุ
ว่า
จะ
ให้
มารดา RhD ลบ สาร
ภูมิ
ต้านทาน anti-D หรือ
ไม่ จะ
ให้
เมื่อ
อะไร ก่อน
หรือ
หลัง
คล
อด
ลูก จะ
ให้
เท่าไร เป็นต้น วิธี
ที่
จะ
ชี้
แนวทาง
ทางการ
รักษา
คือ เอกสาร
แนว
ปฏิบัติ
ทาง
คลินิก เอ
สาร
นั้น
ท่าน
วท.บ. อารี ชีวเกษมสุข นิยาม
ว่า
เป็น
ข้อความที่จัดทำอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับภาวะใดภาวะหนึ่ง
ขณะ
เตรียม
เอกสาร
แนว
ปฏิบัติ
ทาง
คลินิก
จะ
มี
ขั้นตอน
เข้มงวด เช่น มี
ข้อ
จำกัด
จะ
ทบทวน
วรรณกรรม
วิจัย
อะไร
บ้าง และ
จะ
นำ
ข้อมูล
อย่างไร เป็นต้น เป็น
เกณฑ์
ที่
กำหนด
โดย
เครื่องมือ
AGREE II เอกสาร
แนว
ปฏิบัติ
นั้น ทำ
โดย
ทีม
งาน
ประกอบ
ด้วย แพทย์ พยาบาล และ
ผู้
เชียว
ชาน
ทาง
วิจัย ต้อง
ระบุ
วัน
ที่
จะ
หมด
อายุ และ
ต้อง
ปรับ
หลัง
จาก
ระยะ
นั้น ตัวอย่าง
ของ
เอกสาร
แนว
ปฏิบัติ
ทาง
คลินิก
เกี่ยว
กับ RhD มี
ของ
สหราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๖ และ
ของ
ประเทศออสเตรเลีย ๒๕๕๗ เป็นต้น
๚
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น