ก่อนยุคอาณานิคมหนุ่มๆ อินโดนีเซียเรียนในโรงเรียนเปศานเตรฺน ที่นั้นนักเรียนได้ศึกษาศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับ นอกจากนี้ยังได้โอกาสเรียนกฎหมายอิสลามด้วย คล้ายกับ ร.ร. ปอเนาะที่เขตชายแดนภาคใต้ สมัยเนเธอร์แลนด์มาปกครองได้ตั้ง ร.ร. แพทย์ (พ.ศ. ๒๓๔๙) และ ร.ร. วิศวกรรม (พ.ศ. ๒๔๖๓) การศึกษาเริ่มใช้ภาษาดัตช์ แม้ว่าประชากรประกอบด้วยชาวอินโดนีเซียร้อยละ ๙๖ กลุ่มนักศึกษาอินโดนีเซียมีเพียงแต่ร้อยละ ๔๓ คน ผู้อื่นมีชาวยุโรปและจีน ต้องสังเกตที่ขณะนั้นสัดส่วนชาวจีนในอุดมศึกษามีเท่ากับสัดส่วนในประชากร (ร้อยละ ๒.๕) ที่หลังสมัยญี่ปุ่นยึดครองประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๕ ห้ามใช้ดัตช์ ประกาศเสรีภาพแล้วได้ตั้งมหาวิทยาลัยชนิดทั้งโลกและทั้งศาสนา และมีมหาวิทยาลัยเอกชนติดตามด้วย ถึงที่ พ.ศ. ๒๕๔๗ นับมหาวิทยาลัยรัฐ ๔๕ แห่งและมหาวิทยาลัยเอกชน ๓๔๕ แห่ง
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันนี้อินโดนีเซียมีสถานศึกษา ๕ ชนิด ได้แก่ วิทยาลัย (sekolah tinggi สอนวิทยาศาสตร์ประยุกต์หรือศิลปะ) วิทยาลัยสายอาชีพ (politekniks) วิทยาลัยสายสามัญ (akademis) วิทยาลัย (instituts) มหาวิทยาลัย (universitas) สถานการศึกษาเอกชนแม้ว่ามีจำนวนมากไม่ใช่ที่เลือกเพราะคุณภาพต่ำกว่าของรัฐ
ที่อินโดนีเซียมีการสอบเข้าอุดมศึกษาแห่งชาติ นักเรียนที่สมัครมีจำนวนมาก และมีเพียงแต่ร้องละ ๖ ของผู้สมัครที่ได้เข้าเรียนในสถานศึกษาของรัฐ ในกลุ่มนักศึกสาสถาบันรัฐมีนักเรียนจากครอบครัวยากจนเพียงแต่ร้อยละ ๓.๓
จากข้อมูล พ.ศ. ๒๕๓๗ ร้อยละ ๖๒.๗๕ ของแรงงานอินโดนีเซียทั้งหมดมีคุณวุฒิการศึกษาระดับ ป.๖ ส่วนจำนวนประชากรที่เข้าอุดมศึกษามีแต่ร้อยละ ๑ ประกอดด้วยอัตราส่วนผู้หญิงมากกว่าผู้ชายสองเท่า คือต่างกับแนวทางตะวันตกที่ผู้หญิงไม่เข้าอุดมศึกษาเท่าที่สมควร
ประเทศอินโดนีเซียพยายาม ปฏิรูประบบอุดมศึกษาโดยนโยบาย ๒ นโยบายที่ออกมาใหม่ อาทิ กฎหมาย BHMN (Badan Hukum Milik Negara) พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งทำให้สถานอุดมศึกษาเป็นองค์กรรัฐที่บริหารและหาทุนด้วยตัวเอง และกฎหมาย BHP (Badan Hukum Pendidikan) พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งเป็นนโยบายที่ให้สถานอุดมศึกษารับนักศึกษาที่มีความสามารถแต่ไร้ทุนยังน้อยร้อยละ ๒๐ ของนักศึกษาทั้งหมด นโยบาย BHP ยกเลิกใช้วันที่ ๓๐ มินาคม ๒๕๕๓ และตอนนี้มีนโยบายกฎหมายอุดมศึกษา (Pendidikan Tinggi) ทีพิจารณาอยู่ ในนโยบายดังกล่าวจัดสถานอุดมศึกษาเป็นสามกลุ่ม ปกครองตนเอง ปกครองตนเองบางส่วน และปกครองตนเองจำกัด โดยนโยบายต่างๆ พยายามแก้ปัญหาทางด้านสังคมและเพิ่มคุณภาพอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังมีประเด็นความเป็นเอกชนและการพัฒนาอุดมศึกษาเชิงพาณิชย์ที่อยู่ในสำนึกนักข่าวและนักวิชาการด้วยอินโดนีเซียด้วย
วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2554
บัณฑิต
กตเม ปณฺฑิตา ?
ผู้ศึกษาระบับปริญญาโทหรือเอกเป็นคนที่ชอบความรู้ ชอบหาความรู้ด้วยตัวเอง ไม่ว่าจะหาในห้องสมุดอินเทอร์เนตหรือห้องปฏิบัติการจะหาความรู้ตลอด บัณฑิตเป็นคนที่ชอบอ่านหนังสือ อ่าบทความทางวิชาการเป็นประจำ เขาชอบเก็บข้อบันทึกในสมุดบันทึกหรือคอมพิวเตอร์ บัณฑิตบางคนชอบใช้ส่วนชุดคำสั่ง EndNote สำหรับเก็บข้อบันทึกต่างๆพร้อมกับการอ้างอิง ส่วนบัณฑิตบางคนอื่นใช้ i-phone หรือ PDA ด้วย
นอกจากนี้บัณฑิตชอบอ่านหนังสือวิชาการ อ่านในห้องสมุดบ้างหรือใน books.google.com บ้าง อ่านหนังสือเสร็จแล้ว บัณฑิตชอบบันทึกเหมือนกัน เพราะทราบแล้วความทรงจำมีความสามารถไม่มาก ขณะบัณฑิตอ่านหนังสือและไม่เข้าใจเขาชอบเขียนคำถามเกี่ยวกับประเดนที่ไม่ชัดเจน หรือบางที่ตั้งทฤษฎีโดยตัวเอง บัณฑิตมักจะไปอ่านเกี่ยวกับประเด็นที่เขาไม่เข้าใจในหนังสือหลายๆ เล่ม และจะสังเกตวิธีอธิบายของแต่ละเล่มถึงที่เข้าใจได้
บัณฑิตชอบใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาความรู้ ทุกครั้งที่พบเรื่องน่าสนใจจะจด URL เอาไว้ บางทีเก็บ URL ในคอมผิวเตอร์ อาจใช้ส่วนชุดคำสั่ง Dreamweaver หรือ BlueFish เพื่อเก็บ URL ร่วมกับข้อบังทึกหรือจะตั้ง webpage เลย
ขณะบัณฑิตหาความรู้ในอินเทดร์เน็ตเขาจะระมัดระวังดูถ้าข้อมูลเชื้อถือ ขณะพบความรูใหม่บัณฑิตจะถามตัวเอง เรารู้ข้อนี้ได้อย่างไรหนอ มีการทดลองที่พิสูจน์ข้อนี้หนอ บัณฑิตชอบหาบทความต้น เป็นบทความของผู้ทำทดลองเอง พบแล้วจะอ่านโดยละเอียดเพื่อน่าใจไม่มีวิธีอื่นๆ ที่อธิบายข้อมูลดังกล่าวได้ พบในอินเทอร์เนตแล้วบัณฑิตจะบันทึกด้วย เพื่อจะไม่ลืม
อิเม วุจฺจนฺติ ปณฺฑิตา
ผู้ศึกษาระบับปริญญาโทหรือเอกเป็นคนที่ชอบความรู้ ชอบหาความรู้ด้วยตัวเอง ไม่ว่าจะหาในห้องสมุดอินเทอร์เนตหรือห้องปฏิบัติการจะหาความรู้ตลอด บัณฑิตเป็นคนที่ชอบอ่านหนังสือ อ่าบทความทางวิชาการเป็นประจำ เขาชอบเก็บข้อบันทึกในสมุดบันทึกหรือคอมพิวเตอร์ บัณฑิตบางคนชอบใช้ส่วนชุดคำสั่ง EndNote สำหรับเก็บข้อบันทึกต่างๆพร้อมกับการอ้างอิง ส่วนบัณฑิตบางคนอื่นใช้ i-phone หรือ PDA ด้วย
นอกจากนี้บัณฑิตชอบอ่านหนังสือวิชาการ อ่านในห้องสมุดบ้างหรือใน books.google.com บ้าง อ่านหนังสือเสร็จแล้ว บัณฑิตชอบบันทึกเหมือนกัน เพราะทราบแล้วความทรงจำมีความสามารถไม่มาก ขณะบัณฑิตอ่านหนังสือและไม่เข้าใจเขาชอบเขียนคำถามเกี่ยวกับประเดนที่ไม่ชัดเจน หรือบางที่ตั้งทฤษฎีโดยตัวเอง บัณฑิตมักจะไปอ่านเกี่ยวกับประเด็นที่เขาไม่เข้าใจในหนังสือหลายๆ เล่ม และจะสังเกตวิธีอธิบายของแต่ละเล่มถึงที่เข้าใจได้
บัณฑิตชอบใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาความรู้ ทุกครั้งที่พบเรื่องน่าสนใจจะจด URL เอาไว้ บางทีเก็บ URL ในคอมผิวเตอร์ อาจใช้ส่วนชุดคำสั่ง Dreamweaver หรือ BlueFish เพื่อเก็บ URL ร่วมกับข้อบังทึกหรือจะตั้ง webpage เลย
ขณะบัณฑิตหาความรู้ในอินเทดร์เน็ตเขาจะระมัดระวังดูถ้าข้อมูลเชื้อถือ ขณะพบความรูใหม่บัณฑิตจะถามตัวเอง เรารู้ข้อนี้ได้อย่างไรหนอ มีการทดลองที่พิสูจน์ข้อนี้หนอ บัณฑิตชอบหาบทความต้น เป็นบทความของผู้ทำทดลองเอง พบแล้วจะอ่านโดยละเอียดเพื่อน่าใจไม่มีวิธีอื่นๆ ที่อธิบายข้อมูลดังกล่าวได้ พบในอินเทอร์เนตแล้วบัณฑิตจะบันทึกด้วย เพื่อจะไม่ลืม
อิเม วุจฺจนฺติ ปณฺฑิตา
วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554
ทำไมต้องไป ร.ร.
วันนี้ตอนเช้าเด็กหญิงอายุไม่ถึงเจ็ดขวบใส่เสื้อสีขาวกับคอซองสีน้ำเงินขึ้นรถเมล์กับมารดาไปโรงเรียน นั่งในรถโดยสารประจำทางแล้ว ผู้เป็นมารดากล่าวว่า สายแล้วนะ เด็กยังดูง่วงนอนอยู่ ไม่ทราบเพราะเหตุใด อาจอ่านหนังสือดึกหรือดูโทรทัศน์ สักครู่หนึ่งก็ ลืมตาและถามผู้เป็นมารดาว่า ทำไมต้องไป ร.ร. ความจริงเกือบทุกคนต้องไปโรงเรียน บางคนได้เรียนถึงระดับสูง คนที่เป็นอาจารย์จะศึกษาหาความรู้ตลอดชีวิต แต่ทำไมจำเป็นต้องไปโรงเรียน การศึกษามีจุดประสงค์อะไร
ในอดีตถือว่าการศึกษาสำคัญสำหรับประกอบอาชีพ พ่อนายสนธิ์ (จดหมายจางวางหร่ำ) สั่งสอนผู้เป็นลูกว่า “มันต้องคนที่เรียนรู้จากตำรามาลองทำเห็นได้จริงจะใช้ได้” (น. ๔๔)
อย่างไรก็ตาม นอกจากได้อาชีพเพื่อสามารถดำเนินชีวิต เรายังเรียนเพื่อพัฒนาตัวเองทางด้านคุณธรรม ปัญญา และความรู้ Naomi Hodgson ผู้ชนะการประกวดของสมาคมปรัชญาศึกษาแห่งสหราชอาณาจักรสังเกตว่า ในโลกปัจจุบันหลังจากกระบวนการของโบโลญญา สหภาพยุโรปต้องการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งความรู้ ดังนั้นอยากให้ทุกคนได้ทักษะทั้งสามด้าน อาทิ สามารถไปทำงานในพื้นที่ที่ไม่ใช่ที่เกิด (คือ รู้ทั้งภาษวัฒนาธรรมและวิธีชีวิตอื่นๆ) สามารถปรับตัวเองได้ และใช้ความรู้ที่ประยุกต์ได้
เนามีถามทำไมชาวบ้านถือว่า คนที่มีการศึกษาคือ คนที่มีทรัพย์สมบัติและมีชื่อเสียง น่าจะเป็นเพราะว่าความคิดดังกล่าวอยู่ในวัฒนาธรรมยุโรปตั้งแต่โบราณ อาจจะมาจากความเห็นของเปลโตในหนังสือ Politeia ซึ่งเป็นเล็มที่มีอิทธิพลต่อสังคม แต่หลังจากนักวิชาการอ่านและวิเคราะห์อีกครั้งหนึ่งแล้ว ได้ตีความใหม่ มีเงินและชื่อเสียงสำคัญ เพราะคนที่ไม่สั้งสอนคงจะหายไปจาสังคม แต่ในขณะเดียวกันชีวิตคนต้องสามารถตรวจได้ ชีวิตเหมือนกับบัญชีประกอบด้วยสิ่งที่มีค่าด้างสันคม และคนจะ “ลงทุน” เพื่อเพิ่มค่าตัวเอง แต่ยังมีค่าด้านคุณธรรมด้วย ต้องสังเกตความหมายของศัพท์ parrhesia ก่อน จะพบว่าศัพท์ดังกล่าวมายความว่า ผู้ที่พูดความจริงโดยคุณธรรมและไม่สนใจตกในสภาวะลำบากที่อาจเกิดขึ้น เหมือนกับศัพท์ สตฺยวาที (ส.) หรือ สจฺจวาจา (ป.) เช่น เจ้าชายนาละในเรื่องมหาภารตะเป็นองค์สตฺยวาที คนที่มี parrhesia เป็นคนที่พูดจริงทำจริงคือ สิ่งที่เขาพูดตรงกับสิ่งที่เขาทำ เป็นคนที่มีความรับผิดชอบสามารถตรวจได้ แต่ไม่ใช่เพียงแต่ยอมให้ประเมินทางด้าน เศรษฐกิจ ความรู้ และคุณภาพของผลิตผลเขาเท่านั้น
ในอดีตถือว่าการศึกษาสำคัญสำหรับประกอบอาชีพ พ่อนายสนธิ์ (จดหมายจางวางหร่ำ) สั่งสอนผู้เป็นลูกว่า “มันต้องคนที่เรียนรู้จากตำรามาลองทำเห็นได้จริงจะใช้ได้” (น. ๔๔)
อย่างไรก็ตาม นอกจากได้อาชีพเพื่อสามารถดำเนินชีวิต เรายังเรียนเพื่อพัฒนาตัวเองทางด้านคุณธรรม ปัญญา และความรู้ Naomi Hodgson ผู้ชนะการประกวดของสมาคมปรัชญาศึกษาแห่งสหราชอาณาจักรสังเกตว่า ในโลกปัจจุบันหลังจากกระบวนการของโบโลญญา สหภาพยุโรปต้องการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งความรู้ ดังนั้นอยากให้ทุกคนได้ทักษะทั้งสามด้าน อาทิ สามารถไปทำงานในพื้นที่ที่ไม่ใช่ที่เกิด (คือ รู้ทั้งภาษวัฒนาธรรมและวิธีชีวิตอื่นๆ) สามารถปรับตัวเองได้ และใช้ความรู้ที่ประยุกต์ได้
เนามีถามทำไมชาวบ้านถือว่า คนที่มีการศึกษาคือ คนที่มีทรัพย์สมบัติและมีชื่อเสียง น่าจะเป็นเพราะว่าความคิดดังกล่าวอยู่ในวัฒนาธรรมยุโรปตั้งแต่โบราณ อาจจะมาจากความเห็นของเปลโตในหนังสือ Politeia ซึ่งเป็นเล็มที่มีอิทธิพลต่อสังคม แต่หลังจากนักวิชาการอ่านและวิเคราะห์อีกครั้งหนึ่งแล้ว ได้ตีความใหม่ มีเงินและชื่อเสียงสำคัญ เพราะคนที่ไม่สั้งสอนคงจะหายไปจาสังคม แต่ในขณะเดียวกันชีวิตคนต้องสามารถตรวจได้ ชีวิตเหมือนกับบัญชีประกอบด้วยสิ่งที่มีค่าด้างสันคม และคนจะ “ลงทุน” เพื่อเพิ่มค่าตัวเอง แต่ยังมีค่าด้านคุณธรรมด้วย ต้องสังเกตความหมายของศัพท์ parrhesia ก่อน จะพบว่าศัพท์ดังกล่าวมายความว่า ผู้ที่พูดความจริงโดยคุณธรรมและไม่สนใจตกในสภาวะลำบากที่อาจเกิดขึ้น เหมือนกับศัพท์ สตฺยวาที (ส.) หรือ สจฺจวาจา (ป.) เช่น เจ้าชายนาละในเรื่องมหาภารตะเป็นองค์สตฺยวาที คนที่มี parrhesia เป็นคนที่พูดจริงทำจริงคือ สิ่งที่เขาพูดตรงกับสิ่งที่เขาทำ เป็นคนที่มีความรับผิดชอบสามารถตรวจได้ แต่ไม่ใช่เพียงแต่ยอมให้ประเมินทางด้าน เศรษฐกิจ ความรู้ และคุณภาพของผลิตผลเขาเท่านั้น
“This entails seeing philosophy and education as present in the ethical relationship between self and other rather than restricting it to the formal educational institution or to a particular developmental stage.” (น. ๑๒๒)คือคนที่มีการศึกษาให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระว่างตนกับผู้อื่น สามารถอธิบายการกระทำให้ตนเองและให้ผู้อื่น พร้อมที่จะเปลี่ยนวิธีชีวิตถ้าพบประเด็นที่ไร้สาระ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)