กรอบ มคอ. ใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทรวงศึกษาธิการประกาศกรอบดังกล่าววันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ คณะกรรมการอุดมศึกษาประกาศลงมติในวั น ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และแนวทางการปฏิบัตออกมาในวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
โดยกรอบ มคอ. สถาบันการศึกษาหลายสถาบันจะมีลักษณะที่สำคัญเท่ากัน เช่น นิสิตจบปริญญาโทจากสถาบันการศึกษาใดมีทักษะเท่ากับนิสิตของสถาบันการศึกษาอื่นของประเทศไทย คือมโนคติคล้ายกันกระบวนการแห่งโบโลญญาของสหภาพยุโรป ยกตัวอย่างเช่น ที่ยุโรปผู้ใช้ทักษะภาษาเยอรมันระดับ C2 ไม่ว่าจบจากสถาบัน Goethe หรือวิทยาลัยขนาดเล็กใดๆ ที่ประเทศอิตาลีจะมีความสามารถเท่ากัน กรอบ มคอ. ของประเทศไทยไม่ได้หมายความว่าที่ผู้จบจากสถาบันจะมีความรู้เหมือนกัน ความรู้หลักที่กรอบ มคอ. กำหนดคือ พื้นฐานความต้องการน้อยที่สุดที่หลักสุตรต้องมี แต่ละสถาบันสามารถเน้นเพิ่มเติมอะไรในลักสุตรได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น