สมัยก่อนวิชาที่เกี่ยวกับร่างกายมีหลายวิชา เช่น กายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา จุลชีววิทยา เภสัชวิทยา เป็นต้น แต่ตอนนี้เกือบทุกวิชาศึกษาเรื่องเดียวคือ อนุชีวะวิทยา อย่าเข้าไจผิดนะครับ ไม่ใช่ที่แต่ละวิชาไม่มีความรู้เฉพาะของเขา เพียงแต่ว่าความรู้ใหม่เป็นเหมือนกันหมด เกือบทุกวิชาจะศึกษา อนุมูลอิสระ เซลล์อัตโนฆาต ฯลฯ
ส่วนวารสารศาสตร์ค่อยปรับตัวด้วย เมื่อก่อนวารสาร Neuron มีแต่เรื่องเกี่ยวกับเซลล์ประสาท แต่ในปัจจุบันมีบทเกี่ยวกับ ความทรงจำ ความเรียนรู้ ความเจ็บปวด กรณีด้านคลินิกก็มี ดูเหมือนกับวารสาร J Neuroscience อีกวารสานหนึ่งที่ปรับตัวคือ JBC ซึ่งสมัยก่อนเป็นวารสารที่มีชื่อเสียงด้านชีวเคมี ต้อนนี้เน้นชีวภาพของเซลล์มากกว่า
อย่างไรก็ตามวิชาเปลี่ยนไปและวารสารกับตำราด้วย อเล็กซานเดอร์ สไนเดิอร์ ถือว่าที่ทุกวิชามีกระบวนการวิวัฒนาการในสี่ขั้น ในขั้นนักวิทยาศาสตร์แนะนำเนื้อหาใหม่ และต้องสร้างสำนวนเพื่อเรียกสิ่งที่อยากศึกษา ในขั้นที่สองมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและเครื่องมืเพื่อศึกษาวิชาใหม่ ในขั้นที่สามคนพยายามใช้วิธีเก่ามาศึกษาเรื่องใหม่ ในขั้นนี้มีบูรณาการ ขั้นที่สี่มีการศึกษาประยุกต์คือ เอาวิชามาใช้เป็นประโยชน์ ต้องสังเกตที่ต้องรอเวลานานๆ ถึงที่จะใช้ความรู้ใหม่ได้ ความรู้ที่เกิดใหม่ยังไม่พร้อมที่จะใช้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น